::  แผนที่
::  ประวัติความเป็นมา
ตำบลบางไทรตั้งขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ขึ้นอยู่กับแขวงเสนา เรียกว่าเสนาน้อย ปี 2468 ได้ย้ายสถานที่ตั้งอำเภอจากตำบลราชครามมาสร้างใหม่ที่ตำบลบางไทร แต่ยังใช้ชื่ออำเภอราชครามอยู่ เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2482 จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบางไทร คำว่า "บางไทร" ได้เล่าต่อกันมาว่าหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ในตำบลบางไทรประชาชนได้ตั้งบ้านเรือนกระจายไปตามริมฝั่งแม่น้ำน้อยและแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งอยู่ตรงข้ามที่ว่าการอำเภอราชคราม ประกอบอาชีพทำไซจับปลาขายทุกหมู่บ้าน จึงเรียกว่า "บางไซ" และได้เรียกเพี้ยนกันมาจาก "บางไซ" เป็น "บางไทร" และเชื่อกันว่าอาจจะมีต้นไทรขึ้นอยู่จำนวนมากตามริมฝั่งแม่น้ำและหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ตามริมแม่น้ำ ส่วนใหญ่เรียกว่าบางนำหน้า จึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านว่า "บางไทร"
:: จำนวนประชากรของตำบล
จำนวนประชากรทั้งสิ้น 4,443 คน เป็นชาย 2,255 คน เป็นหญิง 2,188 คน
::  การปกครอง
ตำบลบางไทร แบ่งการปกครองเป็น 10หมู่บ้าน คือ
   หมู่ที่ 1 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร
   หมู่ที่ 2 ชื่อบ้าน  บ้านบางแก
   หมู่ที่ 3 ชื่อบ้าน  บ้านดอนบางไทร
   หมู่ที่ 4 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร
   หมู่ที่ 5 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร
   หมู่ที่ 6 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร

   หมู่ที่ 7 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร
   หมู่ที่ 8 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร
   หมู่ที่ 9 ชื่อบ้าน  บ้านบางไทร
   หมู่ที่ 10 ชื่อบ้าน บ้านโรงไผ่
::  อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ จรด ต.บางพลี และแม่น้ำน้อย
ทิศใต้ จรด ต.ไม้ตรา
ทิศตะวันออก จรดแม่น้ำแควน้อย (แม่น้ำน้อย) และแม่น้ำเจ้าพระยา
ทิศตะวันตก จรด ต.กกแก้วบูรพา
::  สภาพทั่วไปของตำบล
มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำน้อยและแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน แม่น้ำน้อย (แควน้อย) มาบรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยาที่หมู่ที่ 7 ต.บางไทร อ.บางไทร เป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอและส่วนราชการต่าง ๆ
::  สภาพดิน
 เป็นดินเหนียวประกอบด้วยดิน ชุด 1F2F3F สภาพเนื้อดินเป็นดินเหนีวมีน้ำท่วม หรือน้ำท่วมขัง ทำให้พืชเสียหายมาก ในฤดูเพาะปลูกเหมาะสมกับการปลูกข้าว พืชผัก หรือไม้ล้มลุกบางชนิดได้ หากมีการทำค้นคูป้องกันน้ำท่วม และปรับสภาพการระบายน้ำของดิน โดยยกร่อง สามารถปลูกไม้ผลได้     
::  การคมนาคม การเดินทางเข้าสู่ตำบล
โดยทางรถยนต์ ถนนสามโคก-เสนา จากสามแยกไม้ตรา ถึงที่ว่าการอำเภอบางไทร 7 กิโลเมตร ถนนสายเสนา-อยุธยา จากแยกบ้านกลึงถึงที่ว่าการอำเภอบางไทร 16 กิโลเมตร ถนนสายบ้านเกาะ-ไม้ตรา จากสามแยกวัดท่าซุง ถึงที่ว่าการอำเภอบางไทร 8 กิโลเมตร     
::  แหล่งน้ำ
แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำน้อย , หนองน้ำ และน้ำฝน
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ได้แก่ คลองชลประทาน
::  ข้อมูลอาชีพของตำบล
อาชีพหลัก รับจ้าง
อาชีพเสริม เกษตรกรรม ทำนา เลี้ยงสัตว์
:: รายชื่อคณะกรรมการศูนย์ฯ
สถานที่ตั้ง    ตำบลบางไทร อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
1.
นายชาญชัย อินทรรักษาทรัพย์ ประธานกรรมการ
2.
นายไพโรจน์ ไตรศักดิ์ศรี กรรมการ
3.
นายบัว จูงใจ กรรมการ
4.
นางละออ ธรรมสิทธิ์ กรรมการ
5.
นายพิกุล กระแสร์เด็น กรรมการ
6.
นายสมพงษ์ ลาภภักดี กรรมการ
7.
นายขุนทอง แสงอาทิตย์ กรรมการ
8.
นางสาววรารักษ์ แสงธิรา กรรมการ
9.
นายบุญเสริม ทรัพย์สัตย์ กรรมการ
10.
นายสมบัติ หาสุข กรรมการ
11.
นายสวิง ตรีวงษ์ กรรมการ
12.
นายสมบูรณ์ สมสมัคร กรรมการ
13.
นายวิรัตน์ ไตรศักดิ์ศรี กรรมการ
14.
นายบุญเลิศ ผลอินทร์ กรรมการ
15.
นางสาวเสาวรส หมอนวด กรรมการและเลขานุการ
::  สภาพพื้นที่และระบบสาธารณูปโภค
ไฟฟ้าเข้าถึงทุกหมู่บ้าน ทั้ง 10 หมู่บ้าน ทุกครัวเรือนมีไฟฟ้าใช้
- น้ำประปา มีน้ำประปาใช้ทุกครัวเรือน
- โทรศัพท์ มีโทรศัพท์สาธารณะ 3 แห่ง
 
::  ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล
1. ที่ว่าการอำเภอบางไทร
2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
3. โรงพยาบาลบางไทร
4. วัดบางไทร
5. วัดบางคล้าบุปผานิการาม
6. โรงเรียนศรีบางไทร
7. สถานีตำรวจภูธรอำเภอบางไทร
8. วัดยี่ป่า
 
::  ศูนย์บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลบางไทร
ผู้รับผิดชอบตำบล คือ นายวีระ กิตติตานนท์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
::  สถาบันเกษตรกร
- กลุ่มเกษตรกร
::  โครงการต่างๆ
ไม่มี
::  แหล่งท่องเที่ยว
ลานเท
ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ชมทัศนียภาพสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา กราบไหว้หลวงปู่ลานเท และเจ้าแม่ลานเท ห่างจากวัดบางไทร 1.5 กิโลเมตร
::  หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล (otop)
แก้วเป่าประดิษฐ์
แก้วเป่าประดิษฐ์ เป็นรูปสัตว์ ต้นไม้ เรือ ตะกร้า ฯลฯ มีความปราณีต สวยงาม และมีรูปแบบที่หลากหลายให้เลือก
::  การรายงานต่างๆ
-
ารรายงานการจัดเก็บข้อมูลรายงานผลผลิตด้านการเกษตร (รอ.)
- การรายงานข้อมูลพื้นฐานทางด้านการเกษตร (ศ.02), แผน - ผล การปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่และศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ
- การรายงานข้อมูลพื้นฐานการเกษตร
- การรายงานภัยธรรมชาติ
- การรายงาน ทบก.01, 05
::  เขตการปกครอง
หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
พื้นที่ถือครอง
ทั้งหมด (ไร่)
พื้นที่ถือครองการเกษตร
ทั้งหมด (ไร่)
จำนวนครัวเรือน
ทั้งหมด(ครัวเรือน)
จำนวนครัวเรือนเกษตรกร
(ครัวเรือน)
1
         
2
         
3
         
4
         
5
         
6
         
7
         
8
         
9
         
10
         
รวม
         
::  พื้นที่เพาะปลูกพืช ปี 2548
พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปี ปี 2547/2548
หมู่ที่
พื้นที่เพาะปลูก
(ไร่)
พื้นที่เก็บเกี่ยว
(ไร่)
ผลผลิตเฉลี่ย
(ก.ก. / ไร่)
ราคา
(บาท / ตัน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม
       
พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปรัง ปี 2547/2548
หมู่ที่
พื้นที่เพาะปลูก
(ไร่)
พื้นที่เก็บเกี่ยว
(ไร่)
ผลผลิตเฉลี่ย
(ก.ก. / ไร่)
ราคา
(บาท / ตัน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
รวม
       
::  สถิติการปลูกพืช (3 - 5 ปี)
สถิติการปลูกข้าวนาปี ปี 2543/2544 - 2547/2548

หมู่ที่ 
2543/2544
2544/2545
2545/2546
 2546/2547 
 2547/2548 
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
1
                             
2
                             
3
                             
4
                             
5
                             
6
                             
7
                             
8
                             
9
                             
10
                             
รวม
                             
 
สถิติการปลูกข้าวนาปรัง ปี 2543/2544 - 2547/2548
หมู่ที่ 
2543/2544
2544/2545
2545/2546
 2546/2547 
 2547/2548 
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิต
(ตัน)
ราคา
(บาท/ตัน)
1
                             
2
                             
3
                             
4
                             
5
                             
6
                             
7
                             
8
                             
9
                             
10
                             
รวม